ดูเอเซีย.คอม ข้อมูลท่องเที่ยว ทั่วไทย ทริปท่องเที่ยว แผนที่ 77 จังหวัด การเดินทาง จองโรงแรม จองตั๋วเครื่องบิน สถานที่ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยว || เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว|| ดูดวงตำราไทย|| อ่านบทละคร|| เกมส์คลายเครียด|| วิทยุออนไลน์ || ดูทีวี || รถตู้เชียงใหม่
  dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ   บอร์ด     เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  
 
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
  เที่ยวหลากสไตล์
  มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
  เส้นทางความสุข
  ขับรถเที่ยวตลอน
  เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
  อุทยานแห่งชาติในไทย
  วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
  ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
  ไก่ชนไทย
  พระเครื่องเมืองไทย
  บทความต่างประเทศ
 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเกาหลี
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศลาว
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศกัมพูชา
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเวียดนาม
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศจีน
 
เที่ยวภาคเหนือ กำแพงเพชร : เชียงราย : เชียงใหม่ : ตาก : นครสวรรค์ : น่าน : พะเยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : สุโขทัย : อุตรดิตถ์ : อุทัยธานี
  เที่ยวภาคอีสาน กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา(โคราช): บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : ศรีสะเกษ : สกลนคร : สุรินทร์ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อำนาจเจริญ : อุดรธานี : อุบลราชธานี : บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
  เที่ยวภาคกลาง กรุงเทพฯ : กาญจนบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นนทบุรี : ปทุมธานี : ประจวบคีรีขันธ์ : ปราจีนบุรี : พระนครศรีอยุธยา : เพชรบุรี : ราชบุรี : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสาคร : สมุทรสงคราม : สระแก้ว : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : อ่างทอง
  เที่ยวภาคตะวันออก จันทบุรี : ชลบุรี : ตราด : ระยอง

  เที่ยวภาคใต้ กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พัทลุง : พังงา : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธานี

การหาเวลาวางลัคน์และการเรียงยาม


            ตำราเลขเจ็ดตัว เป็นพื้นฐานที่โบราณาจารย์ได้สร้างขึ้นไว้เป็นเบื้องต้นในหลักตำราพยากรณ์ โดยได้มาจากการโคจรของดาวเจ็ดดวงบนท้องฟ้า จับเอาระยะการโคจรของดาว จากช้าที่สุดจนถึงเร็วที่สุดคือ
            ๗ - ดาวเสาร์ (เสาร์)          ๕ - ดาวพฤหัสบดี (ครู)    ๓ - อังคาร (ภุมมะ)
            ๑ - ดวงอาทิตย์ (สุริชะ)     ๖ - ดาวศุกร์ (ศุกระ)        ๔ - ดาวพุธ (พุธะ)
            ๒ - ดาวจันทร์ (จันเทา)
            และกำหนดเอาชื่อดาวทั้งเจ็ดดวงนี้เป็นชื่อวันทั้งเจ็ด คือสัปดาห์หนึ่งโดยถอดเอาตัวกลาง คือ ๑ - อาทิตย์ (สุ ริชะ) ไปอีกทีละสี่ก็จะได้ ๒ - จันทร์ (จันเทา) และนับจากจันทร์ออกไปอีกสี่ ก็จะได้ ๓ - อังคาร (ภุมมะ) นับทำนองนี้เรื่อยไปจนครบทั้งเจ็ดดาว  ก็จะได้ชื่อวันครบทั้งเจ็ดวัน มีชื่อตามที่เรียกว่า อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ และเสาร์ ตามลำดับ

            ในหนึ่งวันแบ่งออกเป็นชั่วโมง โดยคิดจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นถึงเวลาที่ดวงอาทิตย์ตก เป็นระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง จากดวงอาทิตย์ตกไปถึงดวงอาทิตย์ขึ้นอีก ๑๒ ชั่วโมง รวมเป็น ๒๔ ชั่วโมง
            ตามวิชาโหราศาสตร์ กำหนดการนับวันโดยถือดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์ คือจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นไปจนถึงดวงอาทิตย์ขึ้นอีกครั้งหนึ่งเป็นหนึ่งวัน ไม่ได้ใช้เวลา ๒๔ นาฬิกา อย่างที่ใช้กันอยู่เป็นสากล

            ในภาคกลางวัน ๑๒ ชั่วโมง และภาคกลางคืนอีก ๑๒ ชั่งโมง แต่ละภาคแบ่งออกเป็นแปดยาม แต่ละยามจะเท่ากับ หนึ่งชั่วโมงครึ่ง ยามทั้งแปดทั้งภาคกลางวัน และภาคกลางคืน มีชื่อเรียกโดยกำหนดเอาชื่อของวันนั้นเป็นยามแรก แต่เนื่องจากมีแปดยามและมีเจ็ดวัน ดังนั้นในยามสุดท้ายคือยามแปด จึงกลับไปใช้ชื่อยามแรกดังนี้

            ยามกลางวัน วันอาทิตย์

เวลา ๐๖.๐๐ น. ถึง ๐๗.๐๐ น. เป็นยาม สุวิชะ (๑) คือยาม แรกหรือยามหนึ่ง
เวลา ๐๗.๓๐ น. ถึง ๐๙.๐๐ น. เป็นยาม ศุกระ (๖) คือยาม สอง
เวลา ๐๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๓๐ น. เป็นยาม พุธะ (๔) คือยาม สาม
เวลา ๑๐.๓๐ น. ถึง ๑๒.๐๐ น. เป็นยาม จันเทา (๒) คือยาม สี่
เวลา ๑๒.๐๐ น. ถึง ๑๓.๓๐ น. เป็นยาม เสาร์ (๗) คือยาม ห้า
เวลา ๑๓.๓๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น. เป็นยาม ครู (๕) คือยาม หก
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น.  เป็นยาม ภุมมะ (๓) คือยาม เจ็ด
เวลา ๑๖.๓๐ น.  ถึง ๑๘.๐๐ น. เป็นยาม สุวิชะ (๑) คือยาม แปด

            วันจันทร์
เวลา ๐๖.๐๐ น. ถึง ๐๗.๐๐ น. เป็นยาม จันเทา (๒) คือยาม แรก หรือยามหนึ่ง
เวลา ๐๗.๓๐ น. ถึง ๐๙.๐๐ น. เป็นยาม  เสาร์  (๗) คือยาม สอง
เวลา ๐๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๓๐ น. เป็นยาม ครู (๕) คือยาม สาม
เวลา ๑๐.๓๐ น. ถึง ๑๒.๐๐ น. เป็นยาม ภุมมะ (๓) คือยาม สี่
เวลา ๑๒.๐๐ น. ถึง ๑๓.๓๐ น. เป็นยาม สุวิชะ (๑) คือยาม ห้า
เวลา ๑๓.๓๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น. เป็นยาม ศุกระ (๖) คือยาม หก
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น. เป็นยาม พุธ (๔) คือยาม เจ็ด
เวลา ๑๖.๓๐ น. ถึง ๑๘.๐๐ น. เป็นยาม จันเทา (๒) คือยาม แปด

            วันอังคาร
เวลา ๐๖.๐๐ น. ถึง ๐๗.๐๐ น. เป็นยาม ภุมมะ (๓) คือยาม แรก หรือยามหนึ่ง
เวลา ๐๗.๓๐ น. ถึง ๐๙.๐๐ น. เป็นยาม สุวิชะ (๒) คือยาม สอง
เวลา ๐๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๓๐ น. เป็นยาม ศุกระ (๖) คือยาม สาม
เวลา ๑๐.๓๐ น. ถึง ๑๒.๐๐ น. เป็นยาม พุธ (๔) คือยาม สี่
เวลา ๑๒.๐๐ น. ถึง ๑๓.๓๐ น. เป็นยาม จันเทา (๒ คือยาม ห้า
เวลา ๑๓.๓๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น. เป็นยาม เสาร์ (๗) คือยาม หก
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น. เป็นยาม ครู (๕) คือยาม เจ็ด
เวลา ๑๖.๓๐ น. ถึง ๑๘.๐๐ น. เป็นยาม ภุมมะ (๓) คือยาม แปด

            วันพุธ
เวลา ๐๖.๐๐ น. ถึง ๐๗.๐๐ น. เป็นยาม พุธ (๔) คือยาม แรกหรือยามหนึ่ง
เวลา ๐๗.๓๐ น. ถึง ๐๙.๐๐ น. เป็นยาม จันเทา (๒) คือยาม สอง
เวลา ๐๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๓๐ น. เป็นยาม เสาร์ (๗) คือยาม สาม
เวลา ๑๐.๓๐ น. ถึง ๑๒.๐๐ น. เป็นยาม ครู (๕) คือยาม สี่
เวลา ๑๒.๐๐ น. ถึง ๑๓.๓๐ น. เป็นยาม ภุมมะ (๓) คือยาม ห้า
เวลา ๑๓.๓๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น. เป็นยาม สุวิชะ (๑) คือยาม หก
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น. เป็นยาม ศุกระ (๖) คือยาม เจ็ด
เวลา ๑๖.๓๐ น. ถึง ๑๘.๐๐ น. เป็นยาม พุธ (๔) คือยาม แปด

            วันพฤหัสบดี
เวลา ๐๖.๐๐ น. ถึง ๐๗.๐๐ น. เป็นยาม ครู (๕) คือยาม แรกหรือยามหนึ่ง
เวลา ๐๗.๓๐ น. ถึง ๐๙.๐๐ น. เป็นยาม ภุมมะ (๓) คือยาม สอง
เวลา ๐๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๓๐ น. เป็นยาม สุวิชะ (๑) คือยาม สาม
เวลา ๑๐.๓๐ น. ถึง ๑๒.๐๐ น. เป็นยาม ศุกระ (๖) คือยาม สี่
เวลา ๑๒.๐๐ น. ถึง ๑๓.๓๐ น. เป็นยาม พุธ (๔) คือยาม ห้า
เวลา ๑๓.๓๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น. เป็นยาม จันเทา (๒) คือยาม หก
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น. เป็นยาม เสาร์ (๗) คือยาม เจ็ด
เวลา ๑๖.๓๐ น. ถึง ๑๘.๐๐ น. เป็นยาม ครู (๕) คือยาม แปด

            วันศุกร์
เวลา ๐๖.๐๐ น. ถึง ๐๗.๐๐ น. เป็นยาม ศุกระ (๖) คือยาม แรก หรือยามหนึ่ง
เวลา ๐๗.๓๐ น. ถึง ๐๙.๐๐ น. เป็นยาม พุธ (๔) คือยาม สอง
เวลา ๐๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๓๐ น. เป็นยาม จันเทา (๒) คือยาม สาม
เวลา ๑๐.๓๐ น. ถึง ๑๒.๐๐ น. เป็นยาม สาร์ (๗) คือยาม สี่
เวลา ๑๒.๐๐ น. ถึง ๑๓.๓๐ น. เป็นยาม ครู (๕) คือยาม ห้า
เวลา ๑๓.๓๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น. เป็นยาม ภุมมะ (๓) คือยาม หก
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น. เป็นยาม เสุวิชะ (๑) คือยาม เจ็ด
เวลา ๑๖.๓๐ น. ถึง ๑๘.๐๐ น. เป็นยาม ศุกระ (๖) คือยาม แปด

            วันเสาร์
เวลา ๐๖.๐๐ น. ถึง ๐๗.๐๐ น. เป็นยาม เสาร์ (๗) คือยาม แรก หรือยามหนึ่ง
เวลา ๐๗.๓๐ น. ถึง ๐๙.๐๐ น. เป็นยาม ครู (๕) คือยาม สอง
เวลา ๐๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๓๐ น. เป็นยาม ภุมมะ (๓) คือยาม สาม
เวลา ๑๐.๓๐ น. ถึง ๑๒.๐๐ น. เป็นยาม สุวิชะ (๑) คือยาม สี่
เวลา ๑๒.๐๐ น. ถึง ๑๓.๓๐ น. เป็นยาม ศุกระ (๖) คือยาม ห้า
เวลา ๑๓.๓๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น. เป็นยาม พุธ (๔) คือยาม หก
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น. เป็นยาม จันเทา (๒) คือยาม เจ็ด
เวลา ๑๖.๓๐ น. ถึง ๑๘.๐๐ น. เป็นยาม เสาร์ (๗) คือยาม แปด

            ยามกลางคืน  การนับยามกลางคืน ต้องเปลี่ยนวิธีนับใหม่ ไม่เหมือนยามกลางวัน คือเริ่มต้นด้วย ระวิ (๑) ชีโว (๕) ศะศิ (๒) ภุมโม (๓) โสโร (๗) พุโธ (๔) และระวิ (๑)
            วันอาทิตย์
เวลา ๐๘.๐๐ น. ถึง ๑๙.๐๐ น. เป็นยาม ระวิ (๑) คือยาม หนึ่ง
เวลา ๑๙.๓๐ น. ถึง ๒๑.๐๐ น. เป็นยาม ชีโว (๕) คือยาม สอง
เวลา ๒๑.๐๐ น. ถึง ๒๒.๓๐ น. เป็นยาม ศะศิ (๒) คือยาม สาม
เวลา ๒๒.๓๐ น. ถึง ๒๔.๐๐ น. เป็นยาม ศุกโร (๖) คือยาม สี่
เวลา ๒๔.๐๐ น. ถึง ๐๑.๓๐ น. เป็นยาม ภุมโม (๓) คือยาม ห้า
เวลา ๐๑.๓๐ น. ถึง ๐๓.๐๐ น. เป็นยาม โสโร (๗) คือยาม หก
เวลา ๐๓.๐๐ น. ถึง ๐๔.๓๐ น. เป็นยาม พุโธ (๔) คือยาม เจ็ด
เวลา ๐๔.๓๐ น. ถึง ๐๖.๐๐ น. เป็นยาม ระวิ (๑) คือยาม แปด

            วันจันทร์  ยามหนึ่งเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามสองเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามสามเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามสี่เป็นยาม โสโร (๗) ยามห้าเป็นยาม พุโธ (๔) ยามหกเป็นยาม ระวิ (๑) ยามเจ็ดเป็นยาม ชีโว (๕) ยามแปดเป็นยาม ศะศิ (๒)
            วันอังคาร  ยามหนึ่งเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามสองเป็นยาม โสโร (๗) ยามสามเป็นยาม พุโธ (๔) ยามสี่เป็นยาม ระวิ (๑) ยามห้าเป็นยาม ชีโว (๕) ยากหกเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามเจ็ดเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามแปดเป็นยาม ภุมโม (๓)
            วันพุธ  ยามหนึ่งเป็นยาม พุโธ (๔) ยามสองเป็นยาม ระวิ (๑) ยามสามเป็นยาม ชีโว (๕) ยามสี่เป็นยาม ศะศิ (๒) ยามห้าเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามหกเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามเจ็ดเป็นยาม โสโร (๗) ยามแปดเป็นยาม พุโธ (๔)
            วันพฤหัสบดี  ยามหนึ่งเป็นยามชีโว (๕) ยามสองเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามสามเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามสี่เป็นยาม ภุมโม (๓) ยามห้าเป็นยาม โสโร (๙) ยามหกเป็นยาม พุโธ (๔) ยามเจ็ดเป็นยาม ระวิ (๑) ยามแปดเป็นยาม ชีโว (๕)
            วันศุกระ  ยามหนึ่งเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามสองเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามสามเป็นยาม โสโร (๗) ยามสี่เป็นยาม พุโธ (๔)
ยามห้าเป็นยาม ระวิ (๑) ยามหกเป็นยาม ชีโว (๕) ยามเจ็ดเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามแปดเป็นยาม ศุกโร (๖)
            วันเสาร์  ยามหนึ่งเป็นยาม โสโร (๗) ยามสองเป็นยาม พุโธ (พุธ) ยามสามเป็นยาม ระวิ (๑) ยามสี่เป็นยาม ชีโว (๕) ยามห้าเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามหกเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามเจ็ดเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามแปดเป็นยาม โสโร (๗)


การนับยามตามห้วงเวลาในรอบ ๒๔ ชั่วโมง ของแต่ละวัน

เวลา ยาม อาทิตย์ จันทร์ อาคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ หมายเหตุ
๐๖๐๐ - ๐๗๓๐ ยามกลางวัน
๐๗๐๐ - ๐๙๐๐ ยามกลางวัน
๐๙๐๐ - ๑๐๓๐ ยามกลางวัน
๑๐๓๐ - ๑๒๐๐ ยามกลางวัน
๑๒๐๐ - ๑๓๓๐ ยามกลางวัน
๑๓๓๐ - ๑๕๐๐ ยามกลางวัน
๑๕๐๐ - ๑๖๓๐ ยามกลางวัน
๑๖๓๐ - ๑๘๐๐ ยามกลางวัน
๑๘๐๐ - ๑๙๓๐ ยามกลางคืน
๑๙๓๐ - ๒๑๐๐ ยามกลางคืน
๒๑๐๐ - ๒๒๓๐ ยามกลางคืน
๒๒๓๐ - ๒๔๐๐ ยามกลางคืน
๒๔๐๐ - ๐๑๓๐ ยามกลางคืน
๐๑๓๐ - ๐๓๐๐ ยามกลางคืน
๐๓๐๐ - ๐๔๓๐ ยามกลางคืน
๑๔๓๐ - ๐๖๐๐ ยามกลางคืน

 

 

 
 
สายการบินสำหรับท่องเที่ยวไทย เขมร ลาว เวียดนาว พม่า
สายการบิน เว็บไซต์ เบอร์โทรจองตั๋ว
แอร์เอซีย http://www.airasia.com/ 02-519-9999
การบินไทย http://www.thaiairways.co.th/ 02-356-1111
การบินลาว http://www.laoairlines.com 02-236-9822
บางกอกแอร์เวล์ http://www.bangkokair.com/ 1771
เจ็ตสตาร์ http://www.jetstar.com ราคาถูกไม่แพงจองทางเว็บไซต์
เวียดนามแอร์ไลน์ http://www.vietnamairlines.com/ บินภายในประเทศเวียดนามไม่แพง
เว็บไซต์จำเป็นสำหรับท่องเที่ยว ไทย เขมร ลาว กัมพูชา พม่า
 
เว็บท่องเที่ยวไทย เว็บท่องเที่ยวลาว เว็บท่องเที่ยวเวียดนาม เว็บท่องเที่ยวกัมพูชา
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวเวียดนาม การท่องเที่ยวกัมพูชา
กรมป่าไม้ มหาสาน.คอม อันดับหนึ่งพอลทัลเวียดนาม ข่าวอันดับหนึ่งของกัมพูชา
ทัวร์ไทย LaosFriends หาเพื่อนชาวลาว ข่าวเวียดนามอันดับหนึ่ง ข้อมูลเที่ยวแม่โขง
  เวียงจันทร์ไทม์ข่าวสารเมืองลาว หาเพื่อนชาวเวียดนาม หาเพื่อนกัมพูชา
 
dooasia.com
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย    www.dooasia.com

เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย. สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์